มรดกภาพยนตร์ของชาติ
มรดกภาพยนตร์ของชาติ เป็นโครงการของหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) เพื่อขึ้นทะเบียนภาพยนตร์ที่มีคุณค่าของชาติและเสี่ยงต่อการสูญเสีย โดยโครงการจะจัดขึ้นทุกปี และจะประกาศรายชื่อภาพยนตร์ปีละ 25 เรื่อง
ครั้งที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔)
- พระเจ้ากรุงสยามเสด็จฯ ถึงกรุงเบิร์น (พ.ศ. 2440)
- พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2468)
- พระราชพิธีเฉลิมพระราชวงศ์จักรีและกรุงเทพพระมหานคร อันสถาปนามาครบ ๑๕๐ ปี (พ.ศ. 2475)
- คล้องช้าง (พ.ศ. 2481)
- พระเจ้าช้างเผือก (พ.ศ.2483) : สันธ์ วสุธาร 💔
“พระเจ้าช้างเผือก หนังสร้างโดยคนไทย เพื่อคนไทย และมีแต่คนไทยเท่านั้นที่ดูได้” - น้ำท่วมใหญ่กรุงเทพ (พ.ศ. 2485)
- รัฐประหาร ๒๔๙๐ (พ.ศ. 2490)
- โรงแรมนรก (พ.ศ. ๒๕๐๐) : รัตน์ เปสตันยี ♥♥♡
“รัตน์ เปสตันยี ได้สร้างโรงแรมสวรรค์นรก สมชื่อ!”
- ผีตองเหลือง (พ.ศ. 2505)
- ไฟเย็น (พ.ศ. 2508)
- ประมวลภาพเห็นการณ์สูญเสียพระเอกผู้ยิ่งใหญ่ มิตร ชัยบัญชา (พ.ศ. 2513)
- โทน (พ.ศ. 2513)
- มนต์รักลูกทุ่ง (พ.ศ. ๒๕๑๓) : รังสี ทัศนพยัคฆ์ ♥♥♥
“มนต์รักลูกทุ่ง คือหนังเพลงไทยคลาสสิกสุดอมตะ เนื้อเรื่องเฉิ่มเชยไปตามกาลเวลา แต่ทุกบทเพลงมีความไพเราะเหนือกาลเวลา”
- บันทึกเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 (พ.ศ. 2519)
- อนุทินวีรชน ๑๔ ตุลา (พ.ศ. 2517)
- การต่อสู้ของกรรมกรหญิงโรงงานฮาร่า (พ.ศ. 2518)
- ! อัศเจรีย์ (พ.ศ. ๒๕๑๙) : สุรพงษ์ พินิจค้า ♥♥♥♥
“! อัศเจรีย์ คือความอัศจรรย์ของสุรพงษ์ พินิจค้า สร้างคุณประโยชน์ให้กับวงการหนังไทย”
- แผลเก่า (พ.ศ. ๒๕๒๐) : เชิด ทรงศรี ♥♥♥♥♡
“แผลเก่า (พ.ศ. ๒๕๒๐) ที่ไม่มีวันจางหายของเชิด ทรงศรี มีสรพงศ์ ชาตรี ครองรักกับนันทนา เงากระจ่าง ชั่วนิจนิรันดร์”
- นิ้วเพชร (พ.ศ. 2521)
- ทองปาน (พ.ศ. ๒๕๑๙) : ไพจง ไหลสกุล, สุรชัย จันทิมาธร, ยุทธนา มุกดาสนิท, รัศมี เผ่าเหลืองทอง ♥♥♥♡
ทองปาน นำเสนอด้านมืดของสังคมไทย ที่แม้ปัจจุบันก็ยังคงมิดสนิทไม่เปลี่ยนแปลง
- สุดสาคร (พ.ศ. 2522) : ปยุต เงากระจ่าง ♥♥
“ภาพยนตร์ไทย สุดสาคร ของปยุต เงากระจ่าง มีภาพวาดที่สุดสวย และเพลงประกอบดนตรีไทยสุดไพเราะ แต่ก็เท่านั้น ที่เหลือคือหายนะ” - ลูกอีสาน (พ.ศ. 2525)
- ผีเสื้อและดอกไม้ (พ.ศ. ๒๕๒๘) : ยุทธนา มุกดาสนิท ♥♥♥♥
“ผีเสื้อและดอกไม้ ทำให้ยุทธนา มุกดาสนิท โบยบินกลายเป็นดาวค้างฟ้า ส่งกลิ่นหอมทั่วผืนผสุธา” - ทวิภพ (พ.ศ. ๒๕๔๗) : สุรพงษ์ พินิจค้า ♥♥♥♡
“ทวิภพ พ.ศ. ๒๕๔๗ ของสุรพงษ์ พินิจค้า คือภาพยนตร์แนวอนุรักษ์นิยม ที่เต็มเปี่ยมด้วยความทะเยอทะยาน”
- ลุงบุญมีระลึกชาติ (พ.ศ. 2553)
ครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๕)
- โชคสองชั้น (พ.ศ. 2470)
- ชีวิตก่อน ๒๔๗๕ (พ.ศ. 2473)
- แห่รัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2476)
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัตพระนคร พ.ศ. ๒๔๘๑ (พ.ศ. 2481)
- การสวนสนามของกองกำลังเสรีไทย (พ.ศ. 2488)
- ทิ้งระเบิดกรุงเทพในสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. 2487)
- เหตุมหัศจรรย์ (2498)
- สวรรค์มืด (พ.ศ.2501) : รัตน์ เปสตันยี ♥♥
“สวรรค์มืด กำกับโดยรัตน์ เปสตันยี หนังไทยคลาสสิคที่มืดมิดแทบทุกด้าน มีสวรรค์แค่เพลงเพราะๆของสุเทพ วงศ์กำแหง กับเพ็ญศรี พุ่มชูศรี เท่านั้น” - แม่นาคพระโขนง (พ.ศ. ๒๕๐๒) : รังสี ทัศนพยัคฆ์ ♥♥
“แม่นาคพระโขนง ฉบับพ.ศ. ๒๕๐๒ แม้คุณภาพจะเสื่อมถอยไร้ค่าไปตามกาลเวลา แต่ก็ได้กลายเป็นตำนานสุดคลาสสิกในความทรงจำแห่งวงการภาพยนตร์ไทย” - การชกมวยชิงแชมเปี้ยนโลกระหว่าง โผน กิ่งเพชร-ปาสคาล เปเรส พ.ศ. ๒๕๐๓ เวทีมวยลุมพินี กรุงเทพฯ (พ.ศ. 2503)
- มือโจร (พ.ศ. 2504)
- เรือนแพ (พ.ศ. ๒๕๐๔) : พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล, เนรมิต ♥♥
“เรือนแพ พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้ถูกกาลเวลาเหยียบย่ำยี จนเหลือแค่ความคลาสสิกในความทรงจำ” - บันทึกรักของพิมพ์ฉวี (พ.ศ. ๒๕๐๕) : ศิริ ศิริจินดา ♥♥♥♡
“บันทึกรักของพิมพ์ฉวี คือจุดเริ่มต้นที่แสนงดงามของ เพชรา เชาวราษฎร์ กลายเป็นคู่ขวัญ มิตร ชัยบัญชา พระนางในใจคนไทยชั่วนิจนิรันดร์”
- เงิน เงิน เงิน (พ.ศ. 2508) : พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ♥♥♥
“เงิน เงิน เงิน คือหนังไทยคลาสสิก ที่แนวคิดดี การแสดงใช้ได้ เพลงเพราะ แค่นี้ก็ยอดเยี่ยม มีคุณค่า ควรค่าแก่คนไทยแล้ว” - เสน่ห์บางกอก (พ.ศ. 2509)
- พยาธิตัวจี๊ด GNATHOSTOMA SPINIGERUM AND GNATHOSTOMIASIS IN THAILAND (พ.ศ. 2501)
- ยิงเป้านักโทษค้ายาเสพติด (พ.ศ. 2510)
- อินทรีทอง (พ.ศ. ๒๕๑๓) : มิตร ชัยบัญชา ♥♥♡
“อินทรีทอง ผลงานกำกับ-แสดงนำ เรื่องสุดท้ายของ มิตร ชัยบัญชา ไม่ได้มีความน่าจดจำแต่กลับไม่มีคนไทยไหนลืมเลือน” - ดาไลลามะในสวนโมกข์ (พ.ศ. 2515)
- หนุมาน พบ เจ็ดยอดมนุษย์ (พ.ศ. 2517) : สมโพธิ แสงเดือนฉาย & Shohei Tôjô ♥♥♥
“หนุมาน พบ เจ็ดยอดมนุษย์ มีครึ่งแรกที่น่าสนใจมากๆ แต่ครึ่งหลังอะไรก็ไม่รู้ คงมีแต่คนไทยสมัยก่อนที่บอกได้ว่า นี่ไม่ใช่หนังห่วย”
- ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น (พ.ศ. 2520)
- ครูบ้านนอก (พ.ศ.๒๕๒๑) : สุรสีห์ ผาธรรม ♥♥♥♡
“ครูบ้านนอก พ.ศ.๒๕๒๑ อาจดูเก่า เชย ล้าสมัย แต่แนวคิด อุดมการณ์ ใจความยังคงสดใหม่ ควรค่าอย่างยิ่งกับคนไทย สักครั้งหนึ่งต้องหามารับชม” - เมืองในหมอก (พ.ศ. 2521)
- คนจร (พ.ศ. 2542)
- สวรรค์บ้านนา (พ.ศ. 2552)
ครั้งที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๖)
- VISIT OF THE PRINCE OF SIAM (1901) (พ.ศ. 2444)
- Chang: A Drama of the Wilderness (1927) : Merian C. Cooper, Ernest B. Schoedsack ♥♥♥♡
“Chang: A Drama of the Wildnerness สารคดีเรื่องแรกที่ถ่ายทำในเมืองไทย สวยงาม ยิ่งใหญ่ นี่แหละคือบรรพบุรุษที่เป็นชาติพันธุ์ของพวกเรา” - แหวนวิเศษ (พ.ศ. 2472)
- เสด็จทอดพระเนตรมอญรำผี ปากลัด ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ (พ.ศ. 2473)
- พระราชพิธีโล้ชิงช้า (พ.ศ. 2474)
- การรับเรือตอร์ปิโด (พ.ศ. 2478)
- รวมไทย (พ.ศ. 2484)
- ทรายมาเป็นแก้ว (พ.ศ. 2493-2494)
- อาจารย์ศิลป์ พีระศรี (พ.ศ. 2494)
- กรุงเทพเมืองหลวงของเรา (พ.ศ. 2500)
- โฆษณาขี้ผึ้งบริบูรณ์บาล์ม ชุดหนูหล่อพ่อเขาพาไปดูหมี (พ.ศ. 2505)
- หลุมศพที่ลือไซต์ (พ.ศ. 2505)
- เพชรตัดเพชร (พ.ศ. ๒๕๐๙) : วิจิตร คุณาวุฒิ, พร้อมสิน สีบุญเรือง, ประกอบ แก้วประเสริฐ ♥♥♥♡
“เพชรตัดเพชร คือหนังบู๊ Action ยุคคลาสสิก เรื่องทรงคุณค่าที่สุดของเมืองไทย” - ผู้ชนะสิบทิศ (พ.ศ.๒๕๐๙-๒๕๑๐) : เนรมิต ♥♥♡
“ผู้ชนะสิบทิศ หนังไทยคลาสสิกของครูเนรมิต นำแสดงโดยไชยา สุริยัน ทีเอาชนะได้ใจสาวๆ แต่การศึกไม่ท่าเท่าไหร่”
- เขาชื่อกานต์ (พ.ศ. 2516)
- โนราขุนอุปถัมภ์นรากร (พ.ศ. 2516)
- วัยอลวน (พ.ศ. 2519)
- คนภูเขา (พ.ศ. 2522)
- น้ำพุ (พ.ศ. ๒๕๒๗) : ยุทธนา มุกดาสนิท ♥♥♥♥
“น้ำพุ ของผู้กำกับยุทธนา มุกดาสนิท จะทำให้ทั้งผู้ใหญ่และวัยรุ่น ตื่นขึ้นจากอาการมืดบอด สะลึมสะลือ หวนกลับมามีสติดั่งน้ำใส” - บุญชูผู้น่ารัก (พ.ศ. 2531)
- ปุกปุย (พ.ศ. 2533)
- ๒๔๙๙ อันธพาลครองเมือง (พ.ศ. ๒๕๔๐) : นนทรีย์ นิมิบุตร ♥♥♥♡
“๒๔๙๙ อันธพาลครองเมือง ของนนทรีย์ นิมิบุตร คงครองใจคนไทยได้ทุกยุคทุกสมัย” - ฟ้าทะลายโจร (พ.ศ. ๒๕๔๓) : วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ♥♥♥♥
“ฟ้าทะลายโจร ผลงานแรกของ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง แจ้งเกิดกลายเป็นตำนานเสือไทย” - โหมโรง (พ.ศ. 2547)
- มหา’ลัย เหมืองแร่ (พ.ศ. ๒๕๔๘) : จิระ มะลิกุล ♥♥♥♡
“มหา’ลัย เหมืองแร่ มีเรื่องราวอันทรงคุณค่า แต่ไดเรคชั่นของ จิระ มะลิกุล ไม่ได้ทำให้ผู้ซึ้งซาบซ่านกับใจความหนังสักเท่าไหร่”
ครั้งที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๕๗)
- ร. ๕ เสด็จประพาสกรุงสต็อกโฮล์ม (พ.ศ. 2440)
- เสด็จอินโดจีน พ.ศ. ๒๔๗๓ (พ.ศ. 2473)
- Siamese Society (พ.ศ. 2463)
- Sound Patch Work (พ.ศ. 2473)
- ปัตตานีในอดีต (พ.ศ. 2479)
- ข้าวกำมือเดียว (พ.ศ. 2483)
- พรายตะเคียน (พ.ศ. 2483)
- งานวันชาตะ นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม (พ.ศ. 2484)
- พี่ชาย (พ.ศ. 2494)
- จำเริญ – จิมมี่ (พ.ศ. 2497)
- สันติ วีณา (พ.ศ.2497) : มารุต ♥♥♥♥
“สันติ วีณา คือหนังไทยที่ทรงคุณค่า มีความสำคัญที่สุดของคนไทยและชาวพุทธ ควรค่าแก่การต้องดูให้ได้ก่อนตาย” - ชั่วฟ้าดินสลาย (พ.ศ.2498) : มารุต ♥♥♥
“ชั่วฟ้าดินสลาย ฉบับปี พ.ศ.2498 แม้จะไม่ได้ยอดเยี่ยมที่สุด แต่ถือเป็น ‘หนังไทยคลาสสิค’ ที่ควรค่าแก่คนไทยควรหามารับชม” - เศรษฐีอนาถา (พ.ศ ๒๔๙๙) : วสันต์ สุนทรปักษิณ ♥♡
“เศรษฐีอนาถา เป็นภาพยนตร์อนาถาที่สุดแห่งประเทศไทย”
- รักริษยา (พ.ศ. 2500)
- หาบข้าว นวดข้าว สีข้าว แต่งงานภาคใต้ (พ.ศ. 2511-2512)
- ตลาดพรหมจารีย์ (พ.ศ. 2516)
- สำเพ็ง (พ.ศ. 2525)
- คนทรงเจ้า (พ.ศ. 2532)
- คนเลี้ยงช้าง (พ.ศ. ๒๕๓๓) : หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ♥♥♥♡
“คนเลี้ยงช้าง พ.ศ. ๒๕๓๓ หนังไทยคลาสสิกของท่านมุ้ย คุณภาพพอตัวแต่ความตั้งใจเกินร้อย”
- กลิ้งไว้ก่อนพ่อสอนไว้ (พ.ศ. 2534)
- กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ (พ.ศ. ๒๕๓๗) : บัณฑิต ฤทธิ์ถกล ♥♥♥♡
“กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ ของบัณฑิต ฤทธิ์ถกล ทำให้คนไทยตื่นเช้าขึ้นมาด้วยสภาพสุขสดใส” - นางนาก (พ.ศ. ๒๕๔๒) : นนทรีย์ นิมิบุตร ♥♥♥♡
การฟื้นคืนชีพของ นางนาก ฉบับผู้กำกับ นนทรีย์ นิมิบุตร เพื่อกลายเป็นตำนานแห่งวงการภาพยนตร์ไทย - ดอกฟ้าในมือมาร (พ.ศ. 2543)
- มนต์รักทรานซิสเตอร์ (พ.ศ. ๒๕๔๔) : เป็นเอก รัตนเรือง ♥♥♥♥
“มนต์รักทรานซิสเตอร์ คืออัลบัมรวมเพลงลูกทุ่งของ เป็นเอก รัตนเรือง จัดจ้าน โดนใจ ฮิตอมตะแห่งศตวรรษ” - แฟนฉัน (พ.ศ. 2546)
ครั้งที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๘)
- ภารกิจทหารอาสาสยามในสงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2461)
- เด็กซนสมัย ร.7 (พ.ศ. 2470-75)
- พันท้ายนรสิงห์ (พ.ศ. 2493)
- ทหารไทยไปเกาหลี (พ.ศ. 2494-95)
- มรดกพระจอมเกล้า (พ.ศ. 2497)
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกผนวช (พ.ศ. 2499)
- โฆษณาพระเครื่องฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2500)
- ทะโมนไพร (พ.ศ. 2502)
- การปฏิบัติหน้าที่เพื่อประเทศชาติในตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลและผู้นำทางทหารจนถึงล้มป่วยและอสัญกรรมของ ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (พ.ศ. 2506)
- ยุทธนา-ศิริพร (พ.ศ. 2506)
- สายเลือดเดียวกัน (พ.ศ. 2509-11)
- ชู้ (พ.ศ. ๒๕๑๕) : เปี๊ยก โปสเตอร์ ♥♥♥♥♥
“ชู้ พ.ศ. ๒๕๑๕ ของเปี๊ยก โปสเตอร์ คือไข่มุกแห่งวงการภาพยนตร์ไทย” - วัยตกกระ (พ.ศ. 2521)
- เงาะป่า (พ.ศ. 2523)
- ประชาชนนอก (พ.ศ. 2524)
- เพื่อน-แพง (พ.ศ. ๒๕๒๖) : เชิด ทรงศรี ♥♥♥♥
“เพื่อน-แพง (พ.ศ. ๒๕๒๖) คือบทเรียนสอนชีวิตที่มีคุณค่าราคาสูงยิ่ง”
- ด้วยเกล้า (พ.ศ.๒๕๓๐) : บัณฑิต ฤทธิ์ถกล ♥♥♥♥
“ด้วยเกล้า คือภาพยนตร์เฉลิมพระเกียรติในหลวง รัชกาลที่ ๙ ที่ทรงคุณค่าที่สุด” - บ้านผีปอบ (พ.ศ. 2533)
- เรื่องตลก 69 (พ.ศ. 2542)
- บางระจัน (พ.ศ. 2543)
- สุริโยไท (พ.ศ. 2544)
- ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๔๕) : จิระ มะลิกุล ♥♥♥♡
“๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ พิสูจน์ศรัทธา ท้าทายความเชื่อ รักษาวัฒนธรรมท้องถิ่น แจ้งเกิดจิระ มะลิกุล และอนุชิต สพันธุ์พงษ์”
- องค์บาก (พ.ศ. 2546)
- ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ (พ.ศ. 2547)
- รักแห่งสยาม (พ.ศ. 2550)
ครั้งที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๕๙)
- รั้วใหม่ทางทะเล เรือดำน้ำ แห่งราชนาวีสยาม กิจวัตรของทหารเรือดำน้ำไทยในญี่ปุ่น (พิธีปล่อยเรืออันรุ่งเรืองสดใส) (พ.ศ. 2479-2480)
- พระองค์เจ้าพีระพงศ์ภาณุเดชแข่งรถ ณ ถนนราชดำเนิน (พ.ศ. 2480)
- เสด็จประพาสภาคใต้ (พ.ศ. 2502)
- พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พ.ศ. ๒๕๐๓ (พ.ศ. 2503)
- แพรดำ (พ.ศ.2504) : รัตน์ เปสตันยี ♥♥♥♡
“แพรดำ หนังไทยคลาสสิก แนวคิดพุทธศาสนา มีข้อคิดการใช้ชีวิตที่ดี ควรค่าแก่คนไทยได้รับชม”
- การเดินขบวนของประชาชน นักเรียน กรณีเขาพระวิหารในจังหวัดนราธิวาส (พ.ศ. 2505)
- ไม้สัก (พ.ศ. 2505)
- พัฒนากร (พ.ศ. 2506)
- เพลงเหย่อย (พ.ศ. 2507)
- MISS UNIVERSE BEAUTY PAGEANT (การประกวดนางสาวจักรวาล) (พ.ศ. 2508)
- พิธีลงนามและคำประกาศในแถลงการณ์ร่วมการก่อตั้งสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (พ.ศ. 2510)
- มิตรเก่าผู้กลับมา (พ.ศ. 2512)
- จาริกานุสรณ์ King’s Activities (พ.ศ. 2514)
- เทพธิดาโรงแรม (พ.ศ. 2517)
- นิรโทษกรรม จำเลยคดี ๖ ตุลา (พ.ศ. 2521)
- คนกลางแดด (พ.ศ. 2522)
- ไผ่แดง (พ.ศ. 2522)
- สะพานรักสารสิน (พ.ศ. 2530)
- สตรีเหล็ก (พ.ศ. 2543)
- สุดเสน่หา (พ.ศ. 2546)
- หมานคร (พ.ศ. ๒๕๔๗) : วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ♥♥♥♥
“วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง คือสิ่งมีชีวิตตัวเล็กๆที่ยิ่งใหญ่ใน หมานคร” - Final Score 365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ (พ.ศ. 2550)
- Mary is happy, Mary is happy (พ.ศ. 2556)
- วังพิกุล (พ.ศ. 2557)
- เพลงของข้าว (พ.ศ. 2558)
ครั้งที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๐)
- พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒๔๖๙ (พ.ศ. 2469)
- การเดินทางกลับจากประเทศญี่ปุ่นของคณะทูตไทยในการไปเจรจาตกลงการเรียกร้องดินแดนคืนจากรัฐบาล อินโด-จีน ของฝรั่งเศส ถึงกรุงเทพพระมหานคร (พ.ศ. 2484)
- ทะเลรัก (พ.ศ. 2496)
- พิธีเปิดป้าย พรรคเสรีมนังคศิลา ๒ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๙ (พ.ศ. 2499)
- ไทยไดมารู (พ.ศ. 2507)
- ศึกบางระจัน (พ.ศ. 2509)
- กองพันจงอางศึก (พ.ศ. 2510)
- ชุมแพ (พ.ศ. 2519)
- เพลงรักเพื่อเธอ (พ.ศ. 2521)
- บ้านทรายทอง (พ.ศ. 2523)
- หลวงตา (พ.ศ. 2523)
- มือปืน (พ.ศ. 2526)
- ข้างหลังภาพ (พ.ศ. ๒๕๒๘) : เปี๊ยก โปสเตอร์ ♥♥♥♥♥
“ข้างหลังภาพ พ.ศ. ๒๕๒๘ ของเปี๊ยก โปสเตอร์ มีสิ่งงดงาม ความลุ่มลึกลับหลบซ่อนเร้นอยู่” - ฉลุย (พ.ศ. 2530)
- เกรซแลนด์ GRACELAND (พ.ศ. 2549)
ครั้งที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๖๑)
- งานพระบรมศพพระพุทธเจ้าหลวง (2453)
- การถ่ายภาพยนตร์เสียงในฟิล์มครั้งแรกในสยาม (2472)
- แข่งขันกอล์ฟ ๒๔๗๔ (2474)
- ขนมเปี๊ยะของอากง (2496)
- หนุมานเผชิญภัยครั้งใหม่ (2500)
- ภาพยนตร์โฆษณาสี่คิงส์ (2502)
- งานศพนายอ๋องซิมผ่าย ถาวรว่องวงศ์ (2512)
- ไอ้ทุย (2514)
- พิธีพระราชทานเพลิงศพวีรชนผู้เสียชีวิต ณ บริเวณท้องสนามหลวง 13-15 ตุลาคม 2517 (2517)
- เพื่อนรัก (2520)
- มนต์รักแม่น้ำมูล (2520)
- เมียหลวง (2521)
- เลือดสุพรรณ (พ.ศ. ๒๕๒๒) : เชิด ทรงศรี ♥♥♡
“เลือดสุพรรณ ผลงานพลีชีพของเชิด ทรงศรี ที่มีเพียงลลนา สุลาวัลย์ และ ส. อาสนจินดา รอดตายมาได้” - รุ่งอรุณวันใหม่ในป่า (2523)
- แก้ว (2523)
- อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป (2535)
- กล่อง (2541)
- สัตว์ประหลาด (2004) : อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
“หนังไทยที่ยอดเยี่ยมที่สุด!”
- ก้านกล้วย (2549)
- ฉลาดเกมส์โกง (2560)
reference: www.fapot.org