La Boum

La Boum ภาษาฝรั่งเศสแปลว่า The Party, บางครั้งใช้ชื่อ Ready for Love, เรื่องราวของหญิงสาวแรกรุ่นกับความวุ่นๆในรัก(ครั้งแรก) ตรงกันข้ามกับบิดา-มารดาที่ใกล้เลิกราหย่าร้าง ความเห็นต่างระหว่างคนสองรุ่น มันช่างครื้นเครง อลเวง

Read More
American Graffiti

American Graffiti (1973) อาจไม่ได้เกี่ยวข้องกับรอยขูดขีดเขียน ภาพวาดกราฟฟิตี้บนผนังกำแพง แต่ทำการบันทึกวิถีวัยรุ่นอเมริกันยุค 60s วัฒนธรรมขับรถจีบสาว (Cruising) สำแดงพฤติกรรมหัวขบถ ขัดต่อขนบกฎกรอบ ท้าทายกฎหมายบ้านเมือง ปลดปล่อยตนเองสู่อิสรภาพ

Read More
ฝัน บ้า คาราโอเกะ

ร้อยเรียงเรื่องราวความคิดถึง ❤️ อีปู (เฟย์ อัศเวศน์) ฝันถึงแม่แต่ก็เป็นห่วงพ่อ (ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว), ไอ้น้อย (เรย์ แมคโดนัลด์) ฝันอยากไปอเมริกาตามหาพ่อ?, เสี่ยโต้ง (วีรดิษ วิญญรัตน์) กระทืบทุกคนเข้าใกล้เมียน้อย (แชมเปญ เอ็กซ์) ฯ นำมาแปะติดปะต่อ กลายเป็นภาพความฝัน วันบ้าๆ ในผับ บาร์ ร้านคาราโอเกะ

Read More
Antichrist

ผู้กำกับ Lars von Trier ล้มป่วยโรคซึมเศร้า (Depression) ระหว่างเข้ารับการบำบัดด้วยวิธีการ ‘Exposure Therapy’ พัฒนาบทหนัง Antichrist เพื่อเผชิญหน้าความกลัวของตนเอง ท้าทายให้ผู้ชมเอาตัวรอดจากสวนอีเดนของซาตาน

Read More
Dancer in the Dark

ไม่ใช่แค่สายตาตัวละครที่กำลังค่อยๆมืดบอด ถูกทรยศหักหลัง ตกอยู่ในความท้อแท้สิ้นหวัง แต่ยังรวมถึงสภาพแวดล้อมในกองถ่ายที่ Björk อ้างว่าถูกแตะอั๋ง ลวนลาม คุกคามทางเพศโดยผกก. Lars von Trier, คว้ารางวัล Palme d’Or จากเทศกาลหนังเมือง Cannes

Read More
Tsotsi

ท่ามกลางสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมทราม สลัมในประเทศ South Africa ชายหนุ่มร่วมกับผองเพื่อนก่ออาชญากรรม ปล้น-ฆ่า จนกระทั่งวันหนึ่งบังเอิญลักพาตัวทารกน้อยไร้เดียงสา โดยไม่รู้ตัวกำลังทำให้ชีวิตของเขาปรับเปลี่ยนแปลงไปชั่วนิรันดร์, คว้ารางวัล Oscar: Best Foreign Language Film

Read More
The Silences of the Palace

หญิงสาวแวะเวียนกลับมาเยี่ยมเยียนสถานที่บ้านเกิด ณ พระราชวัง Bey’s Palace มารดาเคยทำงานสาวใช้ และชู้รักเจ้านาย, ใจจริงไม่อยากหวนกลับมาสักเท่าไหร่ เพราะทำให้ความทรงจำเลวร้ายวัยเด็กที่เก็บกดไว้ ค่อยๆตื่นขึ้นอย่างช้าๆ โดยเฉพาะบิดาแท้ๆ(ที่คาดเดาไม่ยากว่าคือใคร)ต้องการที่จะ !@#$%

Read More
The Land

ทางการออกคำสั่งลดจำนวนวันจ่ายน้ำสู่ไร่นา ฟาร์มฝ้าย สร้างความไม่พึงพอใจให้กับชาวบ้าน พยายามหาหนทางเรียกร้อง ต่อรอง แต่กลับถูกเพิกเฉยจากพวกผู้มีอำนาจ แถมยังส่งตำรวจเข้ามาควบคุม คุกคาม หวังจะยึดครองผืนแผ่นดินมาแสวงหาผลประโยชน์ใส่ตน, ภาพยนตร์ที่แพรวพราวด้วยลูกเล่น ผลงานชิ้นเอกของผู้กำกับ Youssef Chahine

Read More
Touki Bouki

การเดินทางเพื่อค้นหาตัวตนเองของผู้กำกับ Djibril Diop Mambéty ในสไตล์ Bonnie and Clyde ปล้น-ฆ่า(วัว) ก่ออาชญากรรม เป้าหมายปลายทางคือฝรั่งเศส ดินแดนแห่งความเพ้อฝัน ‘The Wizard of Oz’ แต่แท้จริงแล้วปารี่ ปารีส ไม่ต่างอะไรจากปาหี่

Read More
West Indies

West Indies ชื่อเรียกหมู่เกาะในเขตทะเล Caribbean ดินแดนที่ Christopher Columbus ค้นพบทวีปอเมริกา ต่อมากลายเป็นอาณานิคมยุโรป นำเข้าทาสผิวสีแอฟริกัน มาใช้แรงงานปลูกอ้อย แปรรูปน้ำตาล ทำออกมาในสไตล์หนังเพลง (Musical) ผสมผสานการละคอน+ภาพยนตร์ คลุกเคล้าอดีต+ปัจจุบัน เล่าประวัติศาสตร์ทาสเป็นไทได้อย่างมหัศจรรย์

Read More
Soleil Ô

กลุ่มชายฉกรรจ์ชาว Mauritania หลังเข้าร่วมพิธีศีลจุ่ม อพยพเดินทางสู่ฝรั่งเศสเพื่อเริ่มต้นชีวิตใหม่ แต่พอมาถึงกลับไม่สามารถหาทำงาน ถูกปฏิเสธต่อต้าน ขับไล่ ผลักไส หวาดกลัวการรุกรานของ ‘Black Invasion’ นำเสนอด้วยวิธีการที่หลากหลาย ท้าทาย คล้ายศิลปะภาพแปะติด (Collage)

Read More
Sazen Tange and the Pot Worth a Million Ryo

ไหเงินล้านบรรพบุรุษ ถูกส่งมอบเป็นของขวัญแต่งงานน้องชาย ไม่เห็นคุณค่าสักเท่าไหร่เลยขายต่อคนรับซื้อของเก่า มอบให้บุตรชายใช้เลี้ยงปลาทอง, เรื่องวุ่นๆของการติดตามหาไหเงินล้าน มีความโคตรๆบันเทิง ชิบหายวายป่วนสไตล์ Sadao Yamanaka, “ต้องดูให้ได้ก่อนตาย”

Read More
Norwegian Wood

ถูกโจมตีจากแฟนคลับของ Haruki Murakami ว่าฉบับดัดแปลงภาพยนตร์เพียงบทสรุปเนื้อหา ตัดทอนรายละเอียด ลดบทบาทตัวละครสำคัญ แต่ความงดงามของ Norwegian Wood (2010) คือสัมผัสกวีภาพยนตร์ ทำให้ผู้ชมมอดไหม้ไปกับการสูญเสียรักครั้งแรก

Read More
Moonstruck

พระจันทร์เป็นใจ เต็มไปด้วยเรื่องราวรักๆใคร่ๆ ความวุ่นๆวายๆของคนขี้เหงา ทั้งหนุ่ม-สาว กลางคน สูงวัย อาจเพราะหวาดกลัวความตาย เลยต้องมองหาใครสักคนเคียงข้างกาย

Read More
In the Heat of the Night

“They call me Mister Tibbs!” และการตบหน้าคนขาวของ Sidney Poitier ถือเป็นหมุดไมล์ของชาวผิวสี (African-American) ในยุคสมัยการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิพลเมือง Civil Rights Movement (1954-68), สามารถคว้า 5 รางวัล Oscar รวมถึงภาพยนตร์ยอดเยี่ยมแห่งปี

Read More
The White Snake Enchantress

ภาพยนตร์อนิเมชั่นฟีล์มสีเรื่องแรกของญี่ปุ่น และเรื่องแรกของ Toei Animation แต่กลับดัดแปลงตำนานนางพญางูขาว นิทานพื้นบ้านชาวจีน นั่นสะท้อนยุคสมัยหลังสงคราม (Post-War) ความพ่ายแพ้ทำให้ญี่ปุ่นสูญเสียจิตวิญญาณ ความเชื่อมั่น เป็นตัวตนเอง จำต้องพึ่งพามหาอำนาจในการเริ่มต้นทำสิ่งต่างๆ

Read More
Peter Pan

Peter Pan ฉบับการ์ตูนโลกสวยของ Walt Disney ชักชวนผู้ชมโบยบินไปยังดินแดนแห่งความฝัน โลกที่เราสามารถเป็นเด็กตลอดกาล! แต่มันคือการ์ตูนที่เราควรให้เด็กๆรับชมจริงๆนะหรือ?

Read More
Vinni-Pukh

ลบภาพจำ Winnie the Pooh ฉบับของ Walt Disney ทิ้งไปได้เลย! เพราะหมีเกรียนฉบับสหภาพโซเวียต มีความเฉียบคมคาย แฝงปรัชญาลุ่มลึกล้ำ สร้างเสียงหัวเราะขบขัน ออกแบบตัวละครน่ารักน่าชัง แม้เพียงสามตอนสั้นๆ แต่ทำให้เกิดความประทับใจทั้งเด็กและผู้ใหญ่ไม่รู้ลืมเลือน

Read More
By the Bluest of Seas

โดยปกติแล้วภาพยนตร์จากสหภาพโซเวียตในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง (Pre-War) มักมีลักษณะสะท้อนสภาพเป็นจริง ชักชวนเชื่อระบอบสังคมนิยม (Socialist Realism) แต่ไม่ใช่สำหรับ By the Bluest of Seas (1936) นำเสนอเรื่องราวรักๆใคร่ๆ กุ๊กกิ๊ก โรแมนติก-คอมเมดี้ (Rom-Coms) ถึงขนาดสร้างความไม่พึงพอใจต่อ Joseph Stalin

Read More
Philadelphia

ภาพยนตร์กระแสหลักจาก Hollywood เรื่องแรกที่กล่าวถึงปัญหาโรค AIDS และอาการเกลียดกลัวผู้มีความหลากหลายทางเพศ (Homophobia) ผ่านสุดยอดการแสดงของ Tom Hanks ในบทบาทคว้ารางวัล Oscar: Best Acter

Read More