Solaris (1972) : Andrei Tarkovsky ♥♥♥♥♡
ความครุ่นคิดเห็นต่อยุคสมัยสงครามเย็นของปรมาจารย์ผู้กำกับ Andrei Tarkovsky สิ่งที่มนุษยชาติกำลังร้องเรียกโหยหา ไม่ใช่การแพร่ขยายอาณาเขตพรมแดนบนโลกหรือห้วงอวกาศ แต่คือ ‘กระจก’ สำหรับสะท้อนตัวตนเองออกมา
Solaris (1972) : Andrei Tarkovsky ♥♥♥♥♡
ความครุ่นคิดเห็นต่อยุคสมัยสงครามเย็นของปรมาจารย์ผู้กำกับ Andrei Tarkovsky สิ่งที่มนุษยชาติกำลังร้องเรียกโหยหา ไม่ใช่การแพร่ขยายอาณาเขตพรมแดนบนโลกหรือห้วงอวกาศ แต่คือ ‘กระจก’ สำหรับสะท้อนตัวตนเองออกมา
L’Avventura (1960) Italian : Michelangelo Antonioni ♥♥♥♥♡
(8/12/2016) ภาพยนตร์บางเรื่อง จำต้องใช้ประสบการณ์ในการดูหนังที่ค่อนข้างสูง และใช้หัวสมองคิดวิเคราะห์เป็นอย่างมาก, ถ้าคุณมีสองสิ่งนี้พร้อมเมื่อไหร่ ก็ค่อยลองหา L’Avventura ของ Michelangelo Antonioni มาท้าพิสูจน์ดูนะครับ เมื่อนั้นคุณก็อาจเห็นสัจธรรมบางอย่าง ที่มีคุณค่ามากกว่าคนทั่วไปจะสามารถมองเห็นได้
Wild Strawberries (1957) : Ingmar Bergman ♥♥♥♡
(8/7/2017) เมื่อตัวเลขอายุเราเพิ่มขึ้น มักชอบมองย้อนกลับไปหวนระลึกถึงอดีตวันวาน เกิดอารมณ์คิดถึงโหยหา (Nostalgia) วาดฝันอยากกลับคืนสู่ห้วงเวลานั้นอีกครั้ง ทำในสิ่งยังไม่ได้ทำ แก้ไขความผิดพลาด เพื่อชีวิตวันนี้ที่อาจดีขึ้นกว่าเดิม, “ต้องดูให้ได้ก่อนตาย”
คลื่นลูกใหม่แห่งวงการภาพยนตร์ เริ่มต้นที่ Breathless (1960) จากความเป็นนักเลง(หนัง)ของผู้กำกับ Jean-Luc Godard โปรดิวเซอร์บอกความยาวมากเกินไป แต่แทนที่จะตัดทิ้งบางฉาก กลับพัฒนาเทคนิค Jump-Cut หั่นตรงโน้นนิด เล็มตรงนี้หน่อย เอาออกทีละน้อยๆ จนกลายเป็นอมตะแล้วหมดสิ้นลมหายใจ
The Seventh Seal (1957) : Ingmar Bergman ♥♥♥♥
(7/7/2017) ทั้งๆที่รู้ว่า ‘เกิด’แล้วก็ต้อง’ตาย’ แต่มนุษย์ทั้งหลายพยายามจะยืดยื้อ ต่อรองร้องขอชีวิตกับความตาย ทั้งๆที่ก็รู้เช่นกันว่า ไม่มีทางจะเอาชนะได้ แต่ถ้าระหว่างนั้นสามารถกระทำอะไรเสร็จสำเร็จสักอย่าง ก็ถือว่าคุ้มค่าเพียงพอแล้ว … หรือเปล่า?, “ต้องดูให้ได้ก่อนตาย”
8 1/2 (1963) : Federico Fellini ♠♠♠♠♠
(20/2/2018) ผู้กำกับชื่อดังตกอยู่ในสภาวะ ‘Director’s Block’ ครุ่นคิดไม่ออกว่าภาพยนตร์เรื่องถัดไปจะสร้างอะไรดี ติดอยู่ในรถ กึ่งกลางระหว่างความจริง-เพ้อฝัน อดีต-ปัจจุบัน ภรรยา-ชู้สาว ถูกเหนี่ยวรั้งด้วยเชือกไม่ให้หลุดลอยไปไกล สร้างสถานีอวกาศเอาไว้หนีออกนอกโลก แต่เสร็จแค่โครงเหล็กครึ่งทาง เหมือนชื่อหนังเรื่องที่ 8 ติ่งด้วย ½
La Règle du Jeu (1939) : Jean Renoir ♠♠♠♠♠
(9/2/2018) คำว่า Game ในวงการอาหารมักคือกระต่าย หรือสัตวปีกที่ได้จากการล่า ซึ่งชื่อหนัง The Rules of the Game อาจแปลได้ว่ากฎแห่งการเล่นเกม/ล่าสัตว์ แต่ใจความของภาพยนตร์เรื่องนี้จริงๆแล้ว คือการสะท้อนตีแผ่เสียดสี จำลองวิถีโลกทั้งใบ ความไร้สาระของสังคมชั้นสูง และความบอบบางของผู้คนชนชั้นล่าง, “ต้องดูให้ได้ก่อนตาย”